/*! elementor – v3.21.0 – 18-04-2024 */
.elementor-heading-title{padding:0;margin:0;line-height:1}.elementor-widget-heading .elementor-heading-title[class*=elementor-size-]>a{color:inherit;font-size:inherit;line-height:inherit}.elementor-widget-heading .elementor-heading-title.elementor-size-small{font-size:15px}.elementor-widget-heading .elementor-heading-title.elementor-size-medium{font-size:19px}.elementor-widget-heading .elementor-heading-title.elementor-size-large{font-size:29px}.elementor-widget-heading .elementor-heading-title.elementor-size-xl{font-size:39px}.elementor-widget-heading .elementor-heading-title.elementor-size-xxl{font-size:59px}
หลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องกล (ต่อเนื่อง)
หลักสูตรที่เปิดสอนระดับปริญญาตรี
ชื่อหลักสูตร
ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องกล (ต่อเนื่อง)
ชื่อภาษาอังกฤษ : Bachelor of Industrial Technology Program in Mechanical Technology (Continuing Program)
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม(ภาษาไทย) : อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีเครื่องกล)
ชื่อย่อ(ภาษาไทย) : อส.บ (เทคโนโลยีเครื่องกล)
ชื่อเต็ม(ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Industrial Technology (Mechanical Technology)
ชื่อย่อ(ภาษาอังกฤษ) : B.Ind.Tech. (Mechanical Technology)
จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
ไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต
รูปแบบของหลักสูตร
รูปแบบ : หลักสูตรระดับปริญญาตรีปฏิบัติการ
ภาษาที่ใช้ : ภาษาไทย
การรับเข้าศึกษา : นักศึกษาไทย
ความร่วมมือกับสถาบันอื่น : เป็นหลักสูตรเฉพาะของมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์
การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
คุณลักษณะของบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องกล (ต่อเนื่อง)
1. สื่อสารด้วยการพูด การเขียน เพื่อถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารแก่ผู้อื่นให้เข้าใจได้
2. อธิบายความรู้ทางสังคมศาสตร์ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ได้
3. อธิบายองค์ความรู้ทางวิศวกรรมพื้นฐานให้เหมาะสมได้
4. ประยุกต์ใช้ความรู้ในการควบคุมระบบนิวเมติกส์และไฮดรอลิกส์ได้
5. เขียนแบบชิ้นส่วนเครื่องกลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ได้
6. ออกแบบวงจรไฟฟ้าในการควบคุมเครื่องจักรในงานอุตสาหกรรมได้
7. บำรุงรักษาปั๊มน้ำและระบบสูบน้ำในงานอุตสาหกรรมได้
8. บำรุงรักษาอุปกรณ์ของหม้อน้ำในงานอุตสาหกรรมได้อย่างปลอดภัย
9. บำรุงรักษาอุปกรณ์ระบบการทำความเย็นอุตสาหกรรมได้อย่างปลอดภัย
10. ประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้องกับงานทางเทคโนโลยีเครื่องกลได้
11. ออกแบบสร้างนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับงานทางเทคโนโลยีเครื่องกลได
12. แสดงออกถึงความรับผิดชอบต่อตนเอง ตรงต่อเวลา เคารพกฎระเบียบขององค์กร
อาชีพที่สามารถประกอบได้
1. หัวหน้างานฝ่ายซ่อมบำรุงเครื่องจักรกล
2. พนักงานควบคุมเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรม
3. พนักงานควบคุมกระบวนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม
4. ข้าราชการในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับงานทางด้านเครื่องกล
5. ประกอบอาชีพอิสระด้านเครื่องกล ยานยนต์ หรือด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
อาจารย์ประจำหลักสูตร
บุคลากรประจำหลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องกล (ต่อเนื่อง)
แผนการศึกษา
แผนการศึกษาหลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องกล (ต่อเนื่อง)
ย้อนกลับ