/*! elementor – v3.21.0 – 18-04-2024 */
.elementor-heading-title{padding:0;margin:0;line-height:1}.elementor-widget-heading .elementor-heading-title[class*=elementor-size-]>a{color:inherit;font-size:inherit;line-height:inherit}.elementor-widget-heading .elementor-heading-title.elementor-size-small{font-size:15px}.elementor-widget-heading .elementor-heading-title.elementor-size-medium{font-size:19px}.elementor-widget-heading .elementor-heading-title.elementor-size-large{font-size:29px}.elementor-widget-heading .elementor-heading-title.elementor-size-xl{font-size:39px}.elementor-widget-heading .elementor-heading-title.elementor-size-xxl{font-size:59px}
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาวิศวกรรมระบบราง (ต่อเนื่อง)
ชื่อหลักสูตร
ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมระบบราง (ต่อเนื่อง)
ชื่อภาษาอังกฤษ : Bachelor of Engineering Program inRailway System Engineering
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม(ภาษาไทย) : วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมระบบราง) (ต่อเนื่อง)
ชื่อย่อ(ภาษาไทย) : วศ.บ. (วิศวกรรมระบบราง) (ต่อเนื่อง)
ชื่อเต็ม(ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Engineering (Railway System Engineering) (Continuing Program)
ชื่อย่อ(ภาษาอังกฤษ) : B.Eng. (Railway System Engineering) (Continuing Program)
จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
ไม่น้อยกว่า 85 หน่วยกิต
รูปแบบของหลักสูตร
รูปแบบ : หลักสูตรปริญญาตรี(ต่อเนื่อง)
ภาษาที่ใช้ : ภาษาไทย
การรับเข้าศึกษา : นักศึกษาไทย
ความร่วมมือกับสถาบันอื่น : เป็นหลักสูตรเฉพาะของมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์
การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
คุณลักษณะของบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมระบบราง (ต่อเนื่อง)
1.มีวินัย ตรงต่อเวลา รู้จักกาลเทศะ มีสัมมาคารวะ ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีจรรยาบรรณ ทางวิชาการและวิชาชีพ
2.สามารถนําเสนอขlอมูลทั้งภาษาไทย ภาษาอังกฤษและภาษาจีน โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศประกอบการ สื่อสาร
3.สามารถประยุกต์ใช้ศาสตร์ทางด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ในการปฏิบัติงานด้านวิศวกรรมระบบราง
4.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีพื้นฐานทางวิศวกรรมระบบราง สามารถสร้างสรรค์และแก้ปัญหาในงานได้อย่างเหมาะสม
5.มีกระบวนการคิดที่เป็นระบบ สามารถวิเคราะห์ปัญหาด้านวิศวกรรมระบบรางอย่างมีประสิทธิภาพ
6.สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะ ในการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมระบบราง
อาชีพที่สามารถประกอบได้
1. วิศวกรระบบรางในหน่วยงานภาครัฐหรือภาคเอกชน
2. เจ้าหน้าที่ควบคุมการติดตั้ง การใช้งาน และการบำรุงรักษาระบบราง
3. นักปฏิบัติการวิศวกรรมระบบราง
4. บุคลากรทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับระบบราง
5. พนักงานในบริษัทที่ปรึกษาที่เกี่ยวข้องกับระบบราง
อาจารย์ประจำหลักสูตร
บุคลากรประจำหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมระบบราง (ต่อเนื่อง)
แผนการศึกษา
แผนการศึกษาหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมระบบราง (ต่อเนื่อง)
ย้อนกลับ