/*! elementor – v3.21.0 – 18-04-2024 */
.elementor-heading-title{padding:0;margin:0;line-height:1}.elementor-widget-heading .elementor-heading-title[class*=elementor-size-]>a{color:inherit;font-size:inherit;line-height:inherit}.elementor-widget-heading .elementor-heading-title.elementor-size-small{font-size:15px}.elementor-widget-heading .elementor-heading-title.elementor-size-medium{font-size:19px}.elementor-widget-heading .elementor-heading-title.elementor-size-large{font-size:29px}.elementor-widget-heading .elementor-heading-title.elementor-size-xl{font-size:39px}.elementor-widget-heading .elementor-heading-title.elementor-size-xxl{font-size:59px}

หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต

สาขาวิชาการจัดการ (ต่อเนื่อง)

ชื่อหลักสูตร

ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ (ต่อเนื่อง)
ชื่อภาษาอังกฤษ : Bachelor of Business Administration Program in Management (Continuing Program)

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ชื่อเต็ม(ภาษาไทย) : บริหารธุรกิจบัณฑิต (การจัดการ)
ชื่อย่อ(ภาษาไทย) : บธ.บ. (การจัดการ)
ชื่อเต็ม(ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Business Administration (Management)
ชื่อย่อ(ภาษาอังกฤษ) : B.B.A. (Management)

จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร

ไม่น้อยกว่า 76 หน่วยกิต

รูปแบบของหลักสูตร

รูปแบบ : หลักสูตรปริญญาตรี(ต่อเนื่อง)
ภาษาที่ใช้ : ภาษาไทย
การรับเข้าศึกษา : นักศึกษาไทย 
ความร่วมมือกับสถาบันอื่น : เป็นหลักสูตรเฉพาะของมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์
การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว

คุณลักษณะของบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมระบบราง (ต่อเนื่อง)

1.แสดงออกถึง คุณธรรมจริยธรรม วินัยในการทำงาน ความรับผิดชอบ ภายใต้สังคมพหุวัฒนธรรม
2.อธิบายแนวคิด ทฤษฎีด้านการจัดการ และเรียนรู้ เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
3.ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านการจัดการให้เท่าทันการ เปลี่ยนแปลงของสังคมได้
4.สามารถวิเคราะห์งาน มีกระบวนการคิดที่เป็นระบบ และมีทักษะการตัดสินใจ
5.มีทักษะการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ
6.สามารถใช้คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและ อุปกรณ์สำนักงานต่าง ๆ
7.สร้างนวัตกรรมและพัฒนาวิธีการทำงานให้ดีขึ้น

อาชีพที่สามารถประกอบได้

1. พนักงานบริษัทเอกชน เช่น นักวิเคราะห์และวางแผนกลยุทธ์ธุรกิจ นักบริหาร นักการตลาด งานบริการลูกค้า พนักงานฝ่ายบุคคล เป็นต้น
2. ข้าราชการหรือพนักงานในหน่วยงานภาครัฐ เช่น นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นักบริหารทรัพยากร มนุษย์ นักบริหารงานทั่วไป นักพัฒนาธุรกิจ เป็นต้น
3. ผู้จัดการบริษัทหรือหัวหน้าฝ่ายในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
4. ผู้ประกอบการ เช่น ร้านค้าปลีก ค้าส่ง ธุรกิจบริการ ธุรกิจผลิตสินค้าและบริการ เป็นต้น

อาจารย์ประจำหลักสูตร

บุคลากรประจำหลักหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ (ต่อเนื่อง)

แผนการศึกษา

แผนการศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ (ต่อเนื่อง)

ย้อนกลับ

play77.vip

play77.vip

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *